หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๓)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนและคณะนักวิจัยได้ไปปฏิบัติศาสนกิจล่าสุดที่เมืองลั่วหยาง ณ วัดม้าขาว วัดแห่งแรกในแผ่นดินจีน แล้วเดินทางต่อไปที่เมืองซีอาน (ฉางอาน) มณฑลส่านซี แม้เป็นช่วงค่ำมืด ก็ได้รับน้ำใจจากกัลยาณมิตรที่เคยพบกันเมื่อครั้งที่ประเทศจีนรับเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมขององค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ครั้งที่ ๒๗ (๑๔-๑๙ ตุลาคม ๒๕๕๗) ที่วัดฝ่าเหมินซื่อ ซึ่งตั้งอยู่ในเขตมณฑลเดียวกัน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒)
ขอนำเสนอเนื้อหาสาระการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตั้งแต่ครั้งพุทธกาลในชมพูทวีปซึ่งการเผยแผ่ถูกจำกัดด้วยภูมิประเทศและความสามารถในการเดินทาง เรื่อยมาถึงยุคประวัติศาสตร์ที่มากด้วยเรื่องราวความเป็นไปในแต่ละท้องถิ่นของดินแดนต่าง ๆ
ทางสายกลางเส้นทางตรัสรู้ของพระพุทธองค์
วันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ นับเป็นวันสำคัญที่มหาบุรุษ เจ้าชายสิทธัตถะบำเพ็ญเพียรทางจิต ณ ควงไม้ศรีมหาโพธิ์ จนกระทั่งตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าด้วยการดำเนินจิตตามทางสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว...ก้าวสู่รัตนโกสินทร์ตอนกลาง
แผ่นดินสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเริ่มในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งราชวงศ์จักรี เป็นยุคที่สยามเปิดประเทศสู่อารยธรรมตะวันตกและเจริญสัมพันธไมตรีกับนานาชาติ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในสังคมไทยทั้งทางตรงและทางอ้อม
บัณฑิตสามเณร ผู้บรรลุอรหันต์จากการฟังธรรมเพียง ๔ ข้อ
บัณฑิตสามเณรบวชตอนอายุได้ ๗ ขวบ สามารถสำเร็จอรหันต์ในวันที่ ๘ ของการบวช มารดาตั้งชื่อว่า "บัณฑิต" เหตุเพราะเมื่อสามเณรได้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ก็ปรากฏว่าคนในบ้านเรือนมีแต่ความฉลาดปราดเปรื่องมากขึ้น
อภิชาตบุตรของพ่อแม่
เป็นธรรมดาของชายหนุ่มหญิงสาวเมื่อได้ครองรักปักฐานกลายเป็นสามีภรรยา กันแล้ว ย่อมปรารถนาที่จะมีบุตรน้อยไว้เป็นสมาชิกของครอบครัว
อานิสงส์บูชาการอุบัติขึ้นของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
การอุบัติเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้ ดวงจันทร์ในคืนวันเพ็ญโคจรไปในอากาศ สว่างกว่าหมู่ดวงดาวด้วยกำลังแห่งรัศมี เฉกดังพระชินสีห์เมื่ออุบัติในโลก รุ่งโรจน์กว่าสัตว์ทั้งมวล
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑)
การบังเกิดขึ้นของดวงอาทิตย์ย่อมขจัดความมืดมิดให้หมดสิ้นไปได้ฉันใด การบังเกิดของเอกบุรุษ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าย่อมยังประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่มวลมนุษยชาติ ในอันที่จะขจัดมลทิน คือ ความมืดบอดในใจให้หมดสนิ้ ไปได้ฉันนั้น เพราะความรู้อันบริสุทธิ์ที่เกิดจากการประพฤติธรรมตามคำสั่งสอนของพระองค์จะนำพาให้มวลมนุษย์มีดวงปัญญาบริสุทธิ์ ดำเนินชีวิตไม่ผิดพลาด และอยู่รอดปลอดภัยอย่างผู้มีชัยชนะในวัฏสงสาร
เรียนรู้บริขาร
บรรพชา เดิมใช้หมายถึง การบวชเป็นนักบวชทั่วไป เช่น เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกบรรพชา สาวกบรรพชา และเรียกนักบวชเช่นนั้นว่า "บรรพชิต" แต่ในสมัยปัจจุบัน คำนี้ใช้เรียกเฉพาะการบวชเป็นสามเณรเท่านั้น ส่วนการบวชเป็นพระภิกษุเรียกว่า "อุปสมบท"
พิธีอุปสมบทหมู่อุทิศชีวิตสามเณรเปรียญธรรม 12 รูป ในวันวิสาขบูชา พ.ศ. 2558